<< กลับไปหน้าหลัก >>






















เมื่อวันที่ 4-5 มีนาคม 2562 คณะวิทยาศาสตร์ ได้จัดโครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง"การประยุกต์ใช้รังสีเอกซ์จากแหล่งกำเนิดแสงซินโครตรอนเพื่องานวิจัยทางเคมี วัสดุศาสตร์ วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม" (Synchrotron Radiation Applications: Special Session on Synchrotron-based X-rayTechniques for Chemistry, Materials Science, Earth and Environmental Science) ในวันจันทร์ที่ 4 ถึง วันอังคารที่ 5มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้อง SC1-207 ชั้น 2 อาคารบริหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ให้แก่อาจารย์และนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ ในวันที่ 4 มีนาคม 2562 มีการบรรยายในหัวข้อต่างๆ 09:20 – 09:45 น. การบรรยายในหัวข้อ “Looking inside matter with synchrotron: from micron to angstrom” โดย ดร.ศุภกร รักใหม่, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงที่ 1.3W: SAXS 09:45 – 10:10 น. การบรรยายในหัวข้อ “Synchrotron radiation as a tool for polymer nano-structural characterization” โดย ดร.ศิริวัช สุนทรานนท์, ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 1.3W: SAXS 10:10 – 10:25 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10:25 – 10:50 น. การบรรยายในหัวข้อ “Modelling nanocomposite with small angle X-ray scattering” โดย ดร.ศุภกร รักใหม่, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงที่ 1.3W: SAXS 10:50 – 11:15 น. การบรรยายในหัวข้อ “X-ray absorption for probing local structures of materials” โดย ดร.แพร จิรวัฒน์กุล, ผู้จัดการระบบลำเลียงแสงที่ 1.1W: MXT 11:15 – 11:40 น. การบรรยายในหัวข้อ “Revealing into short- and long-range structural ordering in advanced porous materials using synchrotron-based techniques” โดย ดร.สุทธิพงษ์ วรรณไพบูลย์, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงที่ 1.1W: MXT 11:45 – 13:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 13:25 น. การบรรยายในหัวข้อ “Application of synchrotron X-ray absorption for heterogeneous catalysts characterization” โดย ดร.กรองทอง กมลสรวงเกษม, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง 13:25 – 13:50 น. การบรรยายในหัวข้อ “Beauty and dirty study of earth materials by XRF and XAS: Gem stones and environmental contaminations” โดย ดร.ชาตรี ไสยสมบัติ, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงที่ 1.1W: MXT 13:50 – 14:15 น. การบรรยายในหัวข้อ “3D visualization without cutting open your materials by X-ray Microtomography” โดย ดร.ภัคนนันท์ ภัควนิตย์ย์, นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสงที่ 1.2W: XTM ในวันที่ 5 มีนาคม 2562 09:00 – 09:30 น. การบรรยายหัวข้อ ข้อเสนอโครงการวิจัยและขั้นตอนการขอใช้บริการแสงซินโครตรอน ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)